top of page

Food Pantry Group

Public·1 member

[กีฬาสด<] โปลิศ เทโร กับ ลำพูน วอริเออร์ 6 พฤศจิกายน 2566


25 ก.พ. 2566 — คลิปฟุตบอล รักบอล เว็บข่าวบอลสำหรับคนรักบอล พร้อมคลิปไฮไลท์ฟุตบอลและผลบอลสด และลิ้งดูบอลสดแจกฟรีต้องการอ่านข่าวบอลไทย ข่าวบอลพรีเมียร์ลีก ...


ลำพูน วอริเออร์ พบ โปลิศ เทโร ดูถ่ายทอดสด บอลรีโว่ ไทยลีก 25 ก.พ 23 ก.พ. 2566 — ศึก ฟุตบอล รีโว่ ไทยลีก ฤดูกาล 2022/23 หรือ REVO THAI L ลำพูน วอริเออร์ พบ โปลิศ เทโร ดูถ่ายทอดสด บอลรีโว่ ไทยลีก 25 ก.พ. 66. ผลบอล : ลำพูน วอริเออร์ vs โปลิศ เทโร (ไทยลีก 1 2022-2023) 25 ก.พ. 2566 — ลำพูน วอริเออร์, 0-0, นครราชสีมา มาสด้า เอฟซี. ลำพูน วอริเออร์, 3-0, บีจี ปทุม ยูไนเต็ด. ชลบุรี เอฟซี, 2-0, ลำพูน วอริเออร์. ลำพูน วอริเออร์, 1-1, ราชบุรี มิตรผล เอฟซี. วิเคราะห์บอล ไทย ลีก : โปลิศ เทโร -vs- ลำพูน วอร์ริเออร์ส 1 วันที่ผ่านมา — ติดตามบทวิเคราะห์ฟุตบอลล่าสุด ทีเด็ดบ้านผลบอลวันนี้ วิเคราะห์บอล ไทย ลีก : โปลิศ เทโร -vs- ลำพูน วอร์ริเออร์ส. ตารางคะแนนไทยลีก2023/2024 RankTeamGPWDLFAPoint1การท่าเรือ เอฟซี96122713193บีจี ปทุม ยูไนเต็ด9531177186ตราด เอฟซี9333101612ดูอีก 14 แถว ตาราง, ผลการแข่งขัน และไลฟ์สกอร์ ของ ลำพูน วอร์ริเออร์ ตาราง, ผลการแข่งขัน และไลฟ์สกอร์ ล่าสุดของ ลำพูน วอร์ริเออร์ รวมถึง ไทยลีก, เอฟเอ คัพ และ ลีก คัพ ทั้งรายงานการแข่งขันและพรีวิว. C. ) เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศไทย โดยปัจจุบันลงทำการแข่งขันอยู่ใน ไทยลีก ก่อตั้งขึ้นในปี พ. 2535 ในนาม โรงเรียนศาสนวิทยา และได้เปลี่ยนชื่อเป็นปัจจุบันในปี พ. 2561 ประวัติสโมสร[แก้] เริ่มต้น[แก้] สโมสรฟุตบอลโปลิศ เทโรเริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ. 2535 โดย นายวรวีร์ มะกูดี ในชื่อ โรงเรียนศาสนวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียน ในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร และได้ส่งเข้าแข่งขัน ฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ง ซึ่งสโมสรทำผลงานได้ดี จนเลื่อนชั้นขึ้นมาเล่นใน ถ้วยพระราชทาน ค ในปี พ. 2545 สโมสรฯ เปลื่ยนแปลงผู้ฝึกสอนจาก พิชัย ปิตุวงศ์ เป็น อรรถพล บุษปาคม ซึ่งสโมสรฯ สามารถสร้างประวัติศาสตร์ครั้งใหญ่ของวงการฟุตบอลไทยในการแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก โดยเข้าไปถึงรอบชิงชนะเลิศกับสโมสร อัล ไอน์ ตัวแทนจาก สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซึ่งแข่งขันแบบเหย้า-เยือน โดยนัดแรกสโมสรฯบุกไปเยือนแล้วแพ้ไป 2-0 แต่ในนัดที่สองได้เล่นเป็นทีมเหย้าโดยแข่งที่ ราชมังคลากีฬาสถาน สโมสรเอาชนะไปได้ 1-0 จากการยิงลูกโทษของ เทิดศักดิ์ ใจมั่น แต่ก็แพ้ไปด้วยสกอร์รวม 2-1 ได้แค่รองชนะเลิศ ซึ่งเป็นผลงานที่ดีที่สุดของสโมสรฟุตบอลจากประเทศไทยที่ทำได้ในการแข่งขันนี้ นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อการแข่งขันเป็นเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ขณะเดียวกัน สโมสรฯก็ยังได้รองชนะเลิศการแข่งขัน อาเซียนคลับแชมเปียนชิพ โดยแพ้ให้กับ อิสต์ เบงกอล ของ อินเดีย 3-1 ซึ่งในทีมชุดนั้นมีนักเตะที่มีชื่อเสียงในระดับประเทศมากมายเช่น วรวุฒิ ศรีมะฆะ, ดุสิต เฉลิมแสน, ขวัญชัย เฟื่องประกอบ, เทิดศักดิ์ ใจมั่น, ปณัย คงประพันธ์, จตุพงษ์ ทองสุข, ดัสกร ทองเหลา รวมไปถึง นักฟุตบอลต่างชาติอย่าง อาดู ซันเดย์ กองกลางชาว ไนจีเรีย หลังจากได้รองชนะเลิศ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก มาตรฐานของสโมสรฯ เริ่มตกลง แต่ยังถือว่าเป็นสโมสรที่มีลุ้นแชมป์ได้ในหลายฤดูกาล ใน ไทยลีก 2547/48 สโมสรได้แต่งตั้ง สะสม พบประเสริฐ มาคุมทีมแม้ผลงานของทีมกลับต้องมาหนีตกชั้น แต่ก็ยังสามารถจบฤดูกาลด้วยอันดับที่ 6 และในปีนั้นเอง สโมสรฯได้ดันนักฟุตบอลอย่าง ชาคริต บัวทอง และ ธีรเทพ วิโนทัย ขึ้นมาประดับวงการฟุตบอลไทย ร่วมมือกับอาร์เซนอล[แก้] ในปี พ. อ. จักรทิพย์ เป็นประธานสโมสรและได้เปลี่ยนชื่อเป็น โปลิศ เทโร (Police Tero Football Club) และได้ย้ายสนามไปอยู่ที่ สนามบุณยะจินดา โดยได้มีการแถลงข่าวเปิดตัวสโมสรเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ. 2560 [9] ทางด้านนายไบรอันได้ร่วมเป็นประธานสโมสรร่วมด้วย โดยที่ต่อมาทาง บริษัท ไทยลีก ไม่อนุมัติการเปลื่ยนชื่อและสัญลักษณ์ของสโมสรฯ เนื่องจากผิดข้อบังคับ คลับไลเซนนิ่งส์ ทำให้สโมสรต้องกลับมาใช้ชื่อ บีอีซี เทโรศาสน อย่างน้อย 1 ฤดูกาล[10] การตกชั้นครั้งแรก และการเลื่อนชั้นกลับสู่ไทยลีก[แก้] ในฤดูกาล 2561 การแข่งขันนัดที่ 33 หรือนัดรองสุดท้าย โปลิศ เทโร ต้องบุกไปเยือนราชนาวีซึ่งตกชั้นไปแล้วที่สนามกีฬากองทัพเรือ กม. 5 โดยโปลิศ เทโรได้ประตูขึ้นนำก่อน 0–1 จากกฤษพรหม บุญสาร แต่ก็ถูกยิงแซงจนพ่ายแพ้ไป 4–2[11] ทำให้โปลิศ เทโรตกชั้นสู่ไทยลีก 2 เป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์สโมสร[12] ในการแข่งขันนัดสุดท้ายของไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562 โปลิศ เทโร เปิดบ้านเอาชนะ ระยอง ไปได้ 7–0 ทำให้ทั้งสองสโมสรได้เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก ฤดูกาล 2563 โดยโปลิศ เทโร เลื่อนชั้นกลับสู่ไทยลีกหลังจากตกชั้นลงมาเล่นในไทยลีก 2 เพียงฤดูกาลเดียว ส่วนระยองเลื่อนชั้นสู่ไทยลีกเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสร ตราสโมสร[แก้] ฤดูกาล 2539 ฤดูกาล 2541-2549 ฤดูกาล 2549-2560 ฤดูกาล 2560 (สโมสรฯ ใช้แบบไม่เป็นทางการ) ฤดูกาล 2561-ปัจจุบัน ผู้เล่น[แก้] ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้] หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น 1 GK อุกฤษณ์ วงศ์มีมา 2 MF เอกชัย สำเร 3 DF เอร์เนสโต ภูมิภา 4 จิรวัฒน์ ทองแสงพราว 5 สิทธิโชค ทัศนัย 6 แวลิงตง พรีโอรี 7 FW นัฐวุฒิ มูลสุวรรณ 8 ธีรวุธ ชูโลก 9 วู กึน-ช็อง 10 ควาเม คารีคารี 11 เจนภพ โพธิ์ขี (ยืมตัวจาก การท่าเรือ) 13 อับดุลฮาฟิส บือราเฮง 14 พีรพัฒน์ ขมิ้นทอง 15 ชุมพล บัวงาม 17 สยาม แยปป์ 18 สงครามสมุทร น้ำผึ้ง 19 ยศศักดิ์ เชาวนะ 20 อนุกูล ฟอมไธสง 21 พงศกร ศรีวะอุไร 22 สินทวีชัย หทัยรัตนกุล 23 อดิศักดิ์ ซอสูงเนิน (ยืมตัวจาก บีจี ปทุมยูไนเต็ด) 24 ศรุฒ ณะศรี 26 พิชิตชัย เศียรกระโทก 27 เดอนี่ ดาร์เบอเล่ย์ 29 ณัฐภัทร มากท้วม 30 แมกซ์ ปีเตอร์ ครีเวย์ (ยืมตัวจาก บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด) 32 เดนนิส วิลลานูเอวา 35 ไอแซค ฮันนี (กัปตันทีม) 42 สรวิทย์ พานทอง (ยืมตัวจาก เมืองทอง ยูไนเต็ด) 59 อนุสรณ์ ใจเพชร 77 บาโบ มาร์ก ล็องดรี 96 ณัทธภณ วรทญานันทน์ ผู้เล่นที่ถูกยืมตัว[แก้] อับดุสสาลาม สาม่าน (ไป ปัตตานี จนสิ้นสุดฤดูกาล) — อนนต์ สมากร (ไป เกษตรศาสตร์ จนสิ้นสุดฤดูกาล) ดิแอน ซอรี่ (ไป วีอาร์เอ็น เมืองนนท์ จนสิ้นสุดฤดูกาล) ทีมงานผู้ฝึกสอน[แก้] รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค หัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบัน ชื่อ ธัญญะ วงศ์นาค ไทย ผู้จัดการทีม ทองสุข สัมปหังสิต ผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิค รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค หัวหน้าผู้ฝึกสอน อภิเชษฐ์ พุฒตาล ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน วัชรพงษ์ กล้าหาญ โค้ชผู้รักษาประตู ขวัญชัย บุญยัง เจ้าหน้าที่ทีม ผู้ฝึกสอน[แก้] รายนามผู้ฝึกสอน (2539-ปัจจุบัน) ชาติ เวลา เกียรติยศ บรู๊ซ แคมป์เบลล์ 2539/2540 พงษ์พันธ์ วงษ์สุวรรณ 2540 วรวรรณ ชิตะวณิช 2541 เจสัน วิธ 2542-2543 ไทยลีก 2543ไทย เอฟเอคัพ 2543 พิชัย ปิตุวงศ์ 2544-2545 ไทยลีก 2544/45 อรรถพล ปุษปาคม 2545-2547 รองชนะเลิศ เอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก 2002–03รองชนะเลิศ อาเซียน คลับแชมเปียนชิพ 2002–03รองชนะเลิศ ไทยลีก 2545/46รองชนะเลิศ ไทยลีก 2546/47 สะสม พบประเสริฐ 2547-2548 เดวิธ บูท 2549 รีจีส รากันเซ่ 2550 คริสตอฟ ลาร์รูห์ 2551 – มิถุนายน 2552 รองชนะเลิศ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานควีนสคัพ ครั้งที่ 33 ธชตวัน ศรีปาน มิถุนายน - กรกฎาคม 2552 ชนะเลิศ พานาโซนิค คัพ รองชนะเลิศ มูลนิธิไทยคม เอฟเอคัพ 2552 จอร์จ เอ็นริเก้ อมาย่า กรกฎาคม – ตุลาคม 2552 ปีเตอร์ บัตเลอร์ ตุลาคม 2552 – มิถุนายน 2553 พยงค์ ขุนเณร มิถุนายน - ธันวาคม 2553 แอนดรูว์ ออร์ด มกราคม - สิงหาคม 2554 สเวน-เยอราน เอริกซอน[13] (ประธานเทคนิค) กันยายน - พฤศจิกายน 2554 สเตฟาน เดโมล ธันวาคม 2554 – มิถุนายน 2555 เรอเน เดอซาแยร์ มีนาคม - กรกฎาคม 2555 โชคทวี พรหมรัตน์ กรกฎาคม – สิงหาคม 2555 โจเซ่ อัลเวส บอจีส[14] สิงหาคม 2555 – พฤศจิกายน 2557 ชนะเลิศ โตโยต้า ลีกคัพ 2557ชนะเลิศ โตโยต้า พรีเมียร์คัพ 2014 โบซีดาร์ บันโดวิช พฤศจิกายน 2557 – พฤษภาคม 2558 เคนนี่ ซิลล์ พฤษภาคม - สิงหาคม 2558 รังสรรค์ วิวัฒน์ชัยโชค (รักษาการ) สิงหาคม 2558 มานูเอล คาจูด้า สิงหาคม - ธันวาคม 2558 ธันวาคม 2558 บลังโก สมิลยานิช กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2559 สุรพงษ์ คงเทพ (รักษาการ) พฤษภาคม - ธันวาคม 2559 อุทัย บุญเหมาะ กุมภาพันธ์ – มิถุนายน 2560 ไมค์ มัลเวย์ มิถุนายน – พฤศจิกายน 2560 สก็อตต์ คูเปอร์ มกราคม – มีนาคม 2561 มีนาคม – มิถุนายน 2561 มิถุนายน – กันยายน 2561 กันยายน 2561 – รองชนะเลิศ ไทยลีก 2 ฤดูกาล 2562 อดีตผู้เล่นที่สำคัญ[แก้] นักเตะไทย[แก้] นักเตะต่างชาติ[แก้] อเดบาโย กาเดโบ อาดู ซันเดย์ คลีตัน โอลิเวียรา ซิลวา ไดกิ อิวามาสะ โช ชิโมจิ จอร์จี้ วิลสัน เวลคัม กิลเบิร์ต คูมสัน ผู้ผลิตชุดแข่งขันและผู้สนับสนุน[แก้] รายนามผู้ผลิตชุดและผู้สนับสนุน (ฤดูกาล 2539/40-ปัจจุบัน) ฤดูกาล ผู้ผลิตชุดแข่งขัน ผู้สนับสนุน 2539/40 เซปป์ เบียร์สิงห์ 2543 - 2541-2543 อาดิดาส คาลเท็กซ์ 2544/45 2545/46-2547/48 2549-2552 ไนกี้ เอมิเรตส์แอร์ไลน์ 2553 3 เคแบตเตอรี่ 2554 เอฟบีที 2555 สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 2556-2559 เอฟบีแบตเตอรี่ 2560- เบียร์ช้าง สนามเหย้าและที่ตั้งสโมสร[แก้] พิกัด ที่ตั้ง สนาม ปี 13°50′34″N 100°51′18″E / 13. 2543 สโมสรฯสร้างเกียรติประวัติที่สูงสุดได้สำเร็จด้วยการคว้าแชมป์ ไทยลีก ได้เป็นสมัยแรกของสโมสร และนักเตะของสโมสรอย่าง อนุรักษ์ ศรีเกิด ก็ได้รับรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมแห่งปีอีกด้วย จากนั้นในปี พ. 2544 สโมสรฯ เปลี่ยนแปลงผู้ฝึกสอนมาเป็นคนไทย อย่าง พิชัย ปิตุวงศ์ ซึ่งในฤดูกาลนั้นได้ตัว เทิดศักดิ์ ใจมั่น จาก กรุงเทพมหานคร และแจ้งเกิดนักเตะดาวรุ่งในยุคนั้นอย่าง ดัสกร ทองเหลา ที่ ณ ขณะนั้นมีอายุเพียง 16 ปี เล่นในทีมชุดใหญ่เป็นครั้งแรก และสามารถสร้างประวัติศาสตร์ด้วยการคว้าแชมป์ ไทยลีก 2544/2545 ได้สำเร็จ และเป็นแชมป์ไทยลีก 2 สมัยซ้อนเป็นครั้งแรก ในปี พ. 2555 บีอีซี เทโรศาสน เปิดตัว สเวน-เยอราน เอริกซอน ชาวสวีดิช อดีตผู้จัดการ ทีมชาติอังกฤษ ซึ่งรับตำแหน่ง ผู้อำนวยการฝ่ายเทคนิค ของสโมสร โดยพาสโมสรจบอันดับ 3 ของไทยพรีเมียร์ลีกในฤดูกาลนั้น และในปี พ. 2556 สโมสรฯ ย้ายสนามเหย้าแข่งขันไปอยู่ที่ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เขตมีนบุรี เนื่องจากสนามเทพหัสดินไม่พร้อมที่จะใช้งาน และกลายเป็นการกลับสู่ถิ่นที่อยู่เดิมของสโมสรอีกครั้งในย่านมีนบุรี หนองจอก ในฤดูกาล 2557 ภายใต้การคุมทีมของ โจเซ่ อัลเวส บอจีส สโมสรฯ สร้างประวัติศาสตร์ ชนะเลิศการแข่งขัน ไทยลีกคัพ โดยเอาชนะ บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ไปได้ 2-0 จากการทำประตูของ ไดกิ อิวามาสะ และ จอร์จี้ เวลคัม โดย ชนาธิป สรงกระสินธ์ คว้ารางวัลผู้เล่นทรงคุณค่าอีกด้วย[5] และเป็นตำแหน่งชนะเลิศครั้งแรกของสโมสรฯ ในรอบ 12 ปี ปัญหาภายในทีม[แก้] ฤดูกาล 2558 สโมสรฯ ชนะเลิศการแข่งขัน โตโยต้า พรีเมียร์คัพ 2014 โดยเอาชนะจุดโทษ ซากัน โทสุ ตัวเทนจาก เจลีก ไปได้ 4-3 หลังจบการแข่งขันเสมอกันด้วยสกอร์ 0-0[6] แต่ผลงานใน ไทยพรีเมียร์ลีก 2558 กลับย่ำแย่จนต้องหนีตกชั้น สนเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน สโมสรฯต้องตกชั้นลงไปเล่นใน ไทยลีกดิวิชัน 1 โดย จบอันดับที่ 16 มีคะแนนเพียง 35 คะแนนเท่านั้น แม้นัดสุดท้ายจะเอาชนะ สโมสร เชียงราย ยูไนเต็ด ไปได้ถึง 0-5 ก็ตาม [7] จากนั้นก็มีกระแสข่าวที่ว่าอาจจะไม่ต้องตกชั้น เนื่องจากในไทยพรีเมียร์ลีกฤดูกาลหน้าจะมีการปรับสโมสรที่ลงแข่งขันให้เป็น 20 ทีม ต่อมาในวันที่ 26 มกราคม พ. วิเคราะห์ผลบอล ลำพูน วอริเออร์ vs โปลิศ เทโร วันเสาร์ที่ 25/2/66 25 ก.พ. 2566 — วิเคราะห์ผลบอล ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีก : ลำพูน วอริเออร์ vs โปลิศ เทโร สถิติทั้งหมดของ ลำพูน วอริเออร์(แข่งขัน:88 ชนะ:43 แพ้:22 เสมอ:23 แข็งแกร่ง:49%) โปลิศ ... 2559 นายไบรอัน แอล มาคาร์ ประธานสโมสรได้ให้สัมภาษณ์ว่าได้ขายสโมสรให้กับกลุ่มทุนกลุ่มหนึ่งซึ่งคาดกันว่าน่าจะเป็นกลุ่ม สยามกีฬา ซึ่งเป็นเจ้าของสโมสรฟุตบอลเอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ไปด้วยราคา 300 ล้านบาท จากราคาที่เคยตั้งไว้ 500 ล้านบาท พร้อมกันนั้นทางสโมสรยังได้ปล่อยนักเตะแกนหลักของทีม 3 คนคือ ชนาธิป สรงกระสินธ์, ธนบูรณ์ เกษารัตน์ และ พีระพัฒน์ โน๊ตชัยยา ไปเล่นกับ เอสซีจี เมืองทอง ยูไนเต็ด ด้วยสัญญายืมตัวเป็นเวลา 1 ปี ต่อมาเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ปีเดียวกัน มีความชัดเจนว่า บีอีซี เทโรศาสน ต้องตกชั้นไปเล่นในไทยลีกดิวิชั่น 1 อย่างแน่นอน เมื่อ บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก ได้ประชุมและมีมติให้ไทยพรีเมียร์ลีก 2559 ยังคงมี 18 ทีมเหมือนเดิม[8] แต่ในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ พ. 2559 การเจรจาระหว่าง วีระพล อดิเรกสาร ประธานสโมสรสระบุรี เอฟซี กับ สุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ ประธานกรรมการบริหารบริษัท อาร์เอส จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้สนับสนุนหลักประสบความล้มเหลวทำให้สระบุรี เอฟซีประกาศถอนทีม ทำให้บอร์ดบริหารบริษัทไทยพรีเมียร์ลีก มีมติให้ บีอีซี เทโรศาสน ได้ลงเล่นในศึกไทยพรีเมียร์ลีก 2559 แทนที่ สระบุรี เอฟซี โปลิศ เทโร[แก้] โปลิศ เทโร ย้ายมาเล่นที่สนามบุณยะจินดาตั้งแต่ฤดูกาล 2560 เป็นต้นมา เปลี่ยนแปลงการบริหาร[แก้] หลังจาก ฤดูกาล 2559 สี้นสุดลง สโมสรฯได้รับความสนใจที่จะมาทำทีมต่อ โดยในช่วงเดือนธันวาคม พ. วิเคราะห์บอลลำพูน วอร์ริเออร์-โปลิศ เทโร ลำพูน วอริเออร์. อเล็กซานเดร กามา สภาพความพร้อมเกมนี้ ไม่มีผู้เล่นติดโทษแบน แกนหลักพร้อมลงสนามทั้งหมด. นนท์ ม่วงงาม เฝ้าเสา แนวรับ อาลี ซิสโซโก ยังเป็นหัวใจสำคัญหลังบ้าน ... 2542 สโมสรฯ ได้ เจสัน วิธ ลูกชายของ ปีเตอร์ วิธ ผู้ฝึกสอนทีมชาติไทย ในขณะนั้นมาร่วมทีม และได้ อเดบาโย่ กาเดโบ้ กองหลังชาวไนจีเรีย ที่มีดีกรีระดับทีมชาติไนจีเรีย ระดับเยาวชน รุ่นเดียวกับ เอ็นวานโก้ คานู, เจย์ เจย์ โอโคชา มาร่วมทีม ซึ่งสโมสรจบฤดูกาลที่อันดับที่ 3 ของลีก แต่ผลงานในบอลถ้วย กลับไม่ดีนัก โดยในการแข่งขัน สิงห์ เอฟเอคัพ ก็ตกรอบแปดทีมสุดท้าย ส่วนผลงานในฟุตบอลเอเซีย อย่าง เอเอฟซีแชมเปียนส์คัพ ก็ทำผลงานได้ไม่สมบูรณ์เท่าไรโดยนัดแรกเอาชนะ ทรีสตาร์คลับ ของเนปาลไป 6-1 แต่นัดที่สองแพ้ให้กับ ต้าเลียน วันด้า ไป 3-1 จึงต้องตกรอบ สู่จุดสูงสุด[แก้] ต่อมาในปี พ. 2536 และ ถ้วยพระราชทาน ข ในปี พ. 2537 ในปี พ. 2538 สโมสรฯ สร้างสีสรรในฟุตบอลไทย โดยหลังจากที่ได้เลื่อนชั้นมาเล่นใน ถ้วยพระราชทาน ก สโมสรฯ ได้ย้ายที่ตั้งสโมสรมาที่ จังหวัดสุราษฏร์ธานี[1] และ เริ่มมีนักฟุตบอลต่างประเทศมาเล่นในไทย เช่น อุสมัน ไนยี, จอร์จี้ คริสเตียน, และ ลอเรนโซ่ ยูจิน ลอเรนท์ โดยมีนักฟุตบอลชาวไทยที่เป็นตัวหลักในขณะนั้นอย่าง ดุสิต เฉลิมแสน, รุ่งเพชร เจริญวงศ์, ณรงค์ พรไพบูลย์ เป็นต้น สิงห์-เทโรศาสน[แก้] 2539-40: ชุดแข่งในยุคแรกของสโมสรฯ ในระบบฟุตบอลลีก ต่อมา ในปี พ. 2539 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ ได้จัดลีกฟุตบอลอาชีพขึ้นในนาม ไทยแลนด์ซอกเกอร์ลีก ทางสโมสรฯ ได้รับเงินสนับสนุนจาก บริษัท บุญรอด บริวเวอรี จำกัด และ บริษัท เทโร เอ็นเตอร์เทนเมนท์ จำกัด จึงได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น สิงห์-เทโรศาสน และได้มีการเปลื่ยนสีเสื้อมาเป็นสีเหลือง รวมไปถึงมีการจ้างผู้ฝึกสอนเป็นชาวต่างชาติ และใช้สนามเหย้าคือ สนามกีฬาสิรินธร ใน โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และเริ่มเสริมทีมด้วยนักฟุตบอลไทยที่มีชื่อเสียงเช่น วัชรพงษ์ สมจิตร และ ยังได้ วรวุฒิ ศรีมะฆะ, สะสม พบประเสริฐ และ สิงห์ โตทวี ของธนาคารกสิกรไทย ในเลกที่สองฤดูกาลนั้น [1] ซึ่งทำให้สโมสรฯ ได้รับสมญานามว่า ทีมเจ้าบุญทุ่มเมืองไทย แต่อย่างไรก็ดี สโมสรฯกลับทำผลงาน ต่ำกว่าเป้าหมาย โดยจบฤดูกาล 2539-2540 ด้วยอันดับที่ 12 ของลีก ก่อนมังกรไฟ[แก้] ต่อมาในปี พ. 2559 กลุ่มนายทุนของ อุดรธานี เอฟซี ซึ่งเคยมีข่าวจะเข้ามาเทคโอเวอร์ พัทยา ยูไนเต็ด ได้พยายามเข้ามาเทคโอเวอร์สโมสรด้วยงบประมาณ 60 ล้านบาท แต่การเจรจาไม่ลงตัวทำให้ไม่เกิดขึ้น แต่จากนั้นไม่นานได้มีกระแสข่าวออกมาว่ามีกลุ่มทุนอีกกลุ่มที่นำโดย นายตำรวจระดับสูง ติดต่อเข้ามาเพื่อขอบริหารสโมสร ซึ่งต่อมาก็ได้มีการเปิดเผยว่าเป็นกลุ่มของ พลตำรวจเอกจักรทิพย์ ชัยจินดา ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ โดยทาง พล. ต. วิเคราะห์บอล โปลิศ เทโร พบ ลำพูน วอร์ริเออร์ สถิติ ศึก รีโว่ ไทยลีก ประจำฤดูกาล 2023/24 ระเบิดแข้งขึ้นอีกครั้ง โดยเกมสัปดาห์นี้มีทีมที่น่าสนใจลงแข่งขันกันครบทุกคู่ ทีมงาน The Thaiger ขอพาแฟนบอลมาอุ่นเครื่องกับการปะทะกันของทีม โปลิศ เทโร พบ ลำพูน วอ ...


About

Welcome to the group! You can connect with other members, ge...
  • Instagram
  • Facebook
bottom of page